Phakchok Rinpoche biography ชีวประวัตรของท่าน สมเด็จพักชกริมโปเช
เป็นผู้สืบทอดการปฏิบัติสาย ชกจูร์ ลิงปะ (Chok Gyur Lingpa Lineage) แห่งนิกายญิงมา-ปะ (Nyingma School of Early Translation) ซึ่งเป็นนิกายโบราณของพุทธศาสนาวัชรยาน ท่านสืบเชื้อสายมาจาก ชกลิง ริมโปเช (His Eminence Chokling Rinpoche) และ ดีเชน ปาลดรอน (Dechen Paldron) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2525 ที่ประเทศเนปาล ท่านเดินทางเผยแผ่พุทธศาสนาในหลายๆประเทศ ซึ่งเอกลักษณ์ในการถ่ายทอดคำสอนของท่านมีลักษณะตรงไปตรงมา และเข้าใจง่าย
ตำแหน่งปัจจุบัน
• ผู้ครองบัลลังก์สายการปฏิบัติ “ รีโวเช ตักลุง การ์จู (Riwoche Taklung Kagyu Lineage) ” แห่งวัดรีโวเช (Riwoche Monastery)
• วัชราจารย์ของวัดกาญิง เชดรุป (Vajra Master: Ka-Nying Shedrub Ling Monastery) ที่ โพธนาถ (Boudhanath) เมืองกาฐมัณฑุ ประเทศเนปาล
• เจ้าอาวาสวัดโดงัก ญีดา ซุงเทรล เชดรุป รัลตรี (Abbot of Do-ngak Nyida Zungdrel Shedrab Raldri Ling Monastery) ประเทศเนปาล
• เจ้าอาวาสวัดปัล การ์จู เชดรุป ตาชี ทาเกย์ พุนสก (Abbot of Pal Kagyu Shedrub Tashi Dhargye Phuntsok Ling Monastery) ประเทศเนปาล
• ประธานของ รังจุง ยีชี เช็นเปน (President of Rangjung Yeshe Shenpen) อันเป็นองค์กรการกุศล เพื่อช่วยเหลือผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาสด้านการศึกษาและสาธารณสุขในประเทศเนปาล
• ศาสตราจารย์วิชาพุทธปรัชญา (Professor of Buddhist Philosophy) ที่สถาบันรัง จุง ยีชี (Rangjung Yeshe Institute Shedra) ศูนย์พุทธศาสนศึกษา (Center of Buddhist Studies) มหาวิทยาลัยกาฐมัณฑุ (Kathmandu University) ประเทศเนปาล ท่านสอนพุทธปรัชญาทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งปรัชญามาธยมิกะ (The Middle Way)
การศึกษา
• ได้รับวุฒิทางการศึกษาระดับ “เคนโป (mKhan po)” ซึ่งเทียบเท่าปริญญาเอก (Ph.D.) ทางศาสนาวิทยา (Doctor of Divinity) จากองค์สมเด็จดาไลลามะที่ 14 (His Holiness 14th Dalai Lama) และจาก จงซาร์ เคียนเซ ริมโปเช (H.E. Dzongzar Khyentse Rinpoche)
• จบการศึกษาหลักสูตรพุทธปรัชญาที่สถาบันการศึกษาพุทธศาสนาชั้นสูงจงซาร์ (Dzongsar Institute of Advanced Buddhist Studies) ที่ เมืองบีร์ (Bir) มณฑลหิมาจัล (Himachal Pradesh) ประเทศอินเดีย (India) ซึ่งเน้นการศึกษาด้านคำสอนของ สายสาเกียปะ กับ เคนเชน กุงกา วังชุก ริมโปเช (Khenchen Kunga Wangchuk Rinpoche) และ จงซาร์ เตียนเซ ริมโปเช (H.E. Dzongsar Khyentse Rinpoche) ซึ่งท่านใช้เวลาในการศึกษาเพียง 7 ปี จากเวลาปกติ 9 ปี
งานเผยแผ่
• วิทยากรรับเชิญบรรยายธรรม ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมหลายแห่งทั่วโลก อาทิ ประเทศเดนมาร์ก ประเทศเยอรมันนี ประเทศออสเตรีย ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ประเทศเบลเยี่ยม ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดา ประเทศอเมริกา ประเทศอเมริกาใต้ และ ประเทศแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ฯลฯ
• ผู้ก่อตั้งศูนย์ปฏิบัติธรรมหลายแห่งในประเทศมาเลเซีย
Kyabgon Phakchok Rinpoche is a lineage holder of the Profound Treasures of Chokgyur Lingpa from the Nyingma School of Early Translation and throne-holder of Riwoche Taklung Kagyu Lineage.
Currently duties
• Vajra Master of Ka-Nying Shedrub Ling Monastery (in Boudhanath Kathmandu, Nepal)
• Abbot of Pal Do-Ngak Nyida Zungdrel Mindrol Norbuling Monastery (Nepal)
• Abbot of Pal Kagyu Shedrub Tashi Dhargye Phuntsok Ling Monastery (Nepal)
• President of Rangjung Yeshe Shenpen Nepal, a volunteer-based, non-profi t organization that serves the poor and disadvantaged in Nepal
• Professor of Buddhist Philosophy, Rangjung Yeshe Institute Shedra, Center of Buddhist Studies, Kathmandu University, where he teaches general Buddhist philosophy with emphasis on the Middle Way
Education
Phakchok Rinpoche received the Khenpo title (similar to a Doctor of Divinity) from H.H. 14th Dalai Lama and H.E. Dzongsar Khyentse Rinpoche. He completed in seven years the traditional nine-year curriculum of Buddhist philosophy at the Dzongsar Institute of Advanced Buddhist Studies, Bir, Himachal Pradesh, India, where he specialized in studies of the Sakya School of Tibetan Buddhism under the guidance of Khenchen Kunga Wangchuk Rinpoche and H.E. Dzongsar Khyentse Rinpoche.
An enthusiastic and vibrant young teacher, Phakchok Rinpoche’s lectures are direct and easily understood. Since 1999 he has served as Professor of Buddhist Philosophy at the Rangjung Yeshe Institute Shedra, Center of Buddhist Studies, Kathmandu University, where he teaches general Buddhist
philosophy with emphasis on the Middle Way. He has also been guest-lecturer at numerous centers in Europe, North America, South America, and South East Asia.
Leave a Reply